Popular Post

Archive for มิถุนายน 2019

จำนวนเฉพาะ

จำนวนเฉพาะ
เพื่อน ๆ คนไหนจำได้บ้างว่า จํานวนเฉพาะ คืออะไร เลขอะไรบ้างที่เป็น จํานวนเฉพาะ
และ จํานวนเฉพาะ 1-1000 มีทั้งหมดกี่ตัว หากเพื่อน ๆ จำไม่ได้ก็ไม่เป็นไร เพราะวันนี้
กระปุกดอทคอม ขอทบทวนความรู้ทางวิชาคณิตศาสตร์ของเพื่อน ๆ ในเรื่อง "จำนวนเฉพาะ"
ถ้าอยากรู้แล้วว่า "จำนวนเฉพาะ" คืออะไร และ จำนวนเฉพาะ มีเลขอะไรบ้าง อย่ารอช้า
ไปทบทวนพร้อม ๆ กันเลย


         "จำนวนเฉพาะ" หรือ ไพรม์ นัมเบอร์ (Prime number) คือ จำนวนธรรมชาติที่มี
ตัวหารที่เป็นบวกอยู่ 2 ตัว คือ 1 กับตัวมันเอง เช่น 2, 3, 5, 7, 11, 13 และ 17 เป็นต้น
และสำหรับเลข 1 นั้น ให้ตัดทิ้ง เพราะ 1 ไม่เป็นจำนวนเฉพาะ


ตัวอย่างจำนวนเฉพาะที่เรานำมาฝาก มีดังนี้

จํานวนเฉพาะ 1-100 มีทั้งหมด 25 ตัว ดังนี้


      2, 3, 5, 7, 11, 13, 17, 19, 23, 29, 31, 37, 41, 43, 47, 53, 59, 61, 67, 71, 73, 79,
83, 89 และ 97

จํานวนเฉพาะ 1-200 มีทั้งหมด 46 ตัว ดังนี้


      2, 3, 5, 7, 11, 13, 17, 19, 23, 29, 31, 37, 41, 43, 47, 53, 59, 61, 67, 71, 73, 79,
83, 89, 97, 101, 103, 107, 109, 113, 127, 131, 137, 139, 149, 151, 157, 163, 167,
173, 179, 181, 191, 193, 197 และ 199

จํานวนเฉพาะ 1-1000  มีทั้งหมด 176 ตัว ดังนี้


      2, 3, 5, 7, 11, 13, 17, 19, 23, 29, 31, 37, 41, 43, 47, 53, 59, 61, 67, 71, 73, 79,
83, 89, 97, 101, 103, 107, 109, 113, 127, 131, 137, 139, 149, 151, 157, 163, 167,
173, 179, 181, 191, 193, 197, 199, 221, 223, 227, 229, 233, 239, 241, 251, 257,
263, 269, 271, 277, 281, 283, 293, 307, 311, 313, 317, 331, 337, 347, 349, 353,
359, 367, 373, 379, 383, 389, 397, 401, 403, 409, 419, 421, 431, 433, 439, 443,
449, 457, 461, 463, 467, 479, 481, 487, 491, 499, 503, 509, 521, 523, 533, 541,
547, 559, 563, 569, 571, 577, 587, 593, 599, 601, 607, 611, 613, 617, 619, 631,
641, 643, 647, 653, 659, 661, 673,  677, 683, 689, 691, 701, 709, 719, 727, 733,
739, 743, 751, 767, 769, 773, 787, 793, 797, 809, 811, 821, 823, 827, 829, 839,
853, 857, 859, 863, 871, 877, 881, 883, 887, 907, 911, 919, 923, 929, 937, 941,
947, 949, 953, 967, 971, 977, 983, 991 และ 997

         สำหรับวิธีตรวจสอบความเป็นจำนวนเฉพาะ สามารถทำได้ ดังนี้


      สมมติเขาถามว่า 331 เป็นจำนวนเฉพาะรึเปล่า ทุกคนก็คงจะเริ่มด้วยการประมาณค่า
รากที่สองของ 331 ซึ่งได้ประมาณเกือบ ๆ 18 จากนั้นก็เริ่มเอาจำนวนเฉพาะไปหาร 331
ดู โดยเริ่มจาก 2 3 5 7 ไปเรื่อย ๆ แต่พอเราลองไปจนถึง 17 แล้วยังไม่มีจำนวนเฉพาะสัก
ตัวหาร 331 ลงตัว เราก็หยุดและสรุปว่า 331 เป็นจำนวนเฉพาะ โดยไม่ต้องลองเอา
จำนวนเฉพาะอื่นๆ ไปหาร 331 อีกต่อไป  มีวิธีคิดดังนี้คือ ให้ n เป็นจำนวนนับใด ๆ
(n เป็นจำนวนเฉพาะหรือไม่ก็เป็นจำนวนประกอบเพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง)


          - สมมติว่า n เป็นจำนวนประกอบ


          - จำนวนประกอบคือจำนวนที่มีจำนวนอื่นนอกจาก 1 และตัวมันเองที่หารมันลงตัว


          - ดังนั้นมีจำนวนนับ a โดย a หาร n ลงตัว และ 1 < a < n


          - นั่นคือจะมีจำนวนนับ b ที่ 1 < b < n และ n = a * b


          - โดยไม่เสียนัยสำคัญกำหนดให้ a <= b (ถ้า a > b ก็ให้สลับค่า a กับ b)

          - สังเกตว่า a = รากที่สองของ (a^2) <= รากที่สองของ (a*b) = รากที่สองของ n

ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร

ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ม.3 กุญแจคณิตศาสตร์ แบบฝึกหัด 3.1
  
1.  จงเขียนกราฟ แล้วหาว่าระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรต่อไปนี้
มีคำตอบ เดียว มีหลายคำตอบ หรือ ไม่มีคำตอบ
    1. ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
              1. กราฟระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
          กราฟของสมการทั้งสองมีจุดตัดที่จุดเดียว
          เป็นคำตอบของสมการ คือ จุด (2,1) 

      1.2 ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
                 2. กราฟระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
     เนื่องจากกราฟของสมการทั้งสองเป็นเส้นตรงสองเส้นทับกัน
ดังนั้นทุกคู่อันดับเป็นจุดพิกัดบนเส้นตรงนี้เป็นคำตอบของสมการ
ระบบนี้จึงมีคำตอบมากมายไม่จำกัด
     1.3 ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
           3. กราฟระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
     ระบบสมการเป็นเส้นตรงที่ขนานกันไม่ตัดกัน
    ดังนั้น จึงไม่มีคู่อันดับที่เป็นคำตอบของสมการ
     1.4 ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
                  4. กราฟระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
เนื่องจากกราฟของสมการทั้งสองเป็นเส้นตรงสองเส้นทับกัน
ดังนั้นทุกคู่อันดับเป็นจุดพิกัดบนเส้นตรงนี้เป็นคำตอบของสมการ
ระบบนี้จึงมีคำตอบมากมายไม่จำกัด
      1.5 ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
          5. กราฟระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
เนื่องจากกราฟของสมการทั้งสองเป็นเส้นตรงสองเส้นทับกัน
ดังนั้นทุกคู่อันดับเป็นจุดพิกัดบนเส้นตรงนี้เป็นคำตอบของสมการ
ระบบนี้จึงมีคำตอบมากมายไม่จำกัด
     1.6 ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
          6. กราฟระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
กราฟของสมการทั้งสองมีจุดตัดที่จุดเดียว
เป็นคำตอบของสมการ คือ จุด (4,2)
2.  จากกราฟของระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรต่อไปนี้
     จงหาว่า แต่ละระบบสมการมีคำตอบหรือไม่
     ในกรณีมีคำตอบเดียวให้ระบุคำตอบนั้น 
1.
          2.1 กราฟของระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
เนื่องจากกราฟของสมการทั้งสองเป็นเส้นตรงสองเส้นทับกัน
ดังนั้นทุกคู่อันดับเป็นจุดพิกัดบนเส้นตรงนี้เป็นคำตอบของสมการ
ระบบนี้จึงมีคำตอบมากมายไม่จำกัด
2.
          2.2 กราฟของระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
          ระบบสมการเป็นเส้นตรงที่ขนานกันไม่ตัดกัน
          ดังนั้น จึงไม่มีคู่อันดับที่เป็นคำตอบของสมการ
3.
          2.3 กราฟของระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
         กราฟของสมการทั้งสองมีจุดตัดที่จุดเดียว
         เป็นคำตอบของสมการ คือ จุด (2,1)
4.
         2.4 กราฟของระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร 
           กราฟของสมการทั้งสองมีจุดตัดที่จุดเดียว
          เป็นคำตอบของสมการ คือ จุด (3,-3)
5.
         2.5 กราฟของระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
กราฟของสมการทั้งสองมีจุดตัดที่จุดเดียว
เป็นคำตอบของสมการ คือ จุด (-2,3)
6.
         2.6 กราฟของระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
เนื่องจากกราฟของสมการทั้งสองเป็นเส้นตรงสองเส้นทับกัน
ดังนั้นทุกคู่อันดับเป็นจุดพิกัดบนเส้นตรงนี้เป็นคำตอบของสมการ
ระบบนี้จึงมีคำตอบมากมายไม่จำกัด
กรุณาแสดงความคิดเห็น อย่างสุภาพ

มุม


มุม ชื่อมุม จุดยอดของมุม แขนของมุม

เฉลยแบบฝึกหัด ป.4

มุม ชื่อมุม จุดยอดของมุม แขนของมุม

  เมื่อที่จุด ก มี รังสี กอ และรังสี กค  ลากออกไป เกิดมุมขึ้น
  ตามรูปด้านล่าง                                       
  เราเรียกว่ามุม  อกค  หรือ มม คอก
  โดยมีจุด       ก. เป็นจุดยอดของมุม 
  และ รังสี อก และ รังสี  กค เป็นแขนของมุม 
  มุม ชื่อมุม จุดยอดของมุม แขนของมุม
แบบฝึกหัด มุม ชื่อมุม จุดยอดของมุม แขนของมุม
ที่ง่ายต่อการ เรียนรู้ด้วย ตนเอง พร้อมกับการเฉลยคำตอบ อย่างเป็นขั้นตอน 
คำตอบของแบบฝึกหัด เรื่อง  มุม ชื่อมุม จุดยอดของมุม แขนของมุม

กรุณาแสดงความคิดเห็น อย่างสุภาพ

การหาร

การหาร
ในความหมายที่เข้าใจได้อย่างง่าย ๆ ดังตัวอย่าง
เช่น มี เงินอยู่ สิบบาทต้องการแบ่งให้ เพื่อน 2  คนคนละเท่า ๆกันจะได้คนละกี่บาท ?
      ไข่ 20 ใบใส่ในกล่อง 10 ใบ ใบละเท่า ๆ กัน จะได้ว่าในกล่องจะมีไข่กี่ใบ    ? 

มีฟักทองอยู่ 12 ผล  ต้องการแบ่งให้ เป็นจำนวนเท่า ๆ กัน ดังนี้ 

             การหาร

 แบ่งเป็น สองส่วน  เท่า ๆ กัน  จะได้        12   หาร    2      อ่านว่า" สิบสอง หาร สอง"
ได้ผลลลัพธ์ ดังรูป

            การหาร  12 หาร 2
ดังนั้น         จะได้ว่า                        12   หาร    2      =    6
                                            อ่านว่า" สิบสอง หาร สอง  เท่ากับ หก " 
                                            ___________________________________
มาดู    แบ่งเป็น สาม ส่วน  เท่า ๆ กัน  จะได้

                                                 12   หาร    3          
              12 หาร  3    

  ดังนั้น         จะได้ว่า                      12   หาร    3      =    
                                             ___________________________________

มาดู    แบ่งเป็น   สี่ ส่วน  เท่า ๆ กัน  จะได้

                                                 12   หาร  
                          12 หาร 4
   ดังนั้น         จะได้ว่า                    12   หาร        =     3
                                             ___________________________________


มาดู    แบ่งเป็น  หก ส่วน  เท่า ๆ กัน  จะได้

                                                 12   หาร   6    


              12 หาร 6


   ดังนั้น         จะได้ว่า                    12   หาร   6    =    2           


กรุณาแสดงความคิดเห็น อย่างสุภาพ

- Copyright © MA.MATH - WATSON V - Powered by MA.TUTOR - Designed by WATSON V -